๒. วัน เดือน
ปี เกิด ๑๔
พฤศจิกายน ๒๔๘๕
๓. ประวัติการศึกษา
คุณวุฒิ พ.ศ. สถานศึกษา
-มัธยมศึกษาปีที่
๘ ๒๕๐๓ โรงเรียนอำนวยศิลป์
-ปริญญาสัตวแพทยศาสตร์บัณฑิต ๒๕๑๐ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
-ประกาศนียบัตรด้านปาโทโลยี ๒๕๑๙ ประเทศสวีเดน
๔.
ประวัติการทำงาน
รับราชการที่กรมปศุสัตว์
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เริ่มทำงานครั้งแรกที่สถานีบำรุงพันธุ์สัตว์ทับกวาง
จังหวัดสระบุรี
ไปทำงานกับหน่วยพัฒนาการเคลื่อนที่จังหวัดสุราษฏร์ธานี ร่วมกับหน่วยทหาร
ได้รับเหรียญพิทักษ์เสรีชน
แล้วย้ายเป็นหัวหน้าสถานีตรวจและรักษาโรคสัตว์จังหวัดพิษณุโลก
ย้ายเป็นปศุสัตว์จังหวัดตาก แล้วย้ายกลับมาเป็นปศุสัตว์จังหวัดพิษณุโลก
ได้รับรางวัลสัตวแพทย์ดีเด่นด้านบริการสังคม เมื่อปี พ.ศ.๒๕๓๘ จากสัตวแพทยสมาคมในพระราชูปถัมภ์
ย้ายมาเป็นปศุสัตว์จังหวัดสุโขทัย และย้ายกลับมาเป็นปศุสัตว์จังหวัดพิษณุโลก
และได้รักษาราชการแทนผู้อำนวยการสำนักสุขศาสตร์สัตว์และสุขอนามัยที่ ๖
จนปลดเกษียณอายุราชการ
๕.
ตำแหน่งปัจจุบัน
ข้าราชการบำนาญ กรมปศุสัตว์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
๖.
ตำแหน่งหน้าที่สำคัญในอดีต
-
นายสัตวแพทย์ กองสัตวรักษ์
กรมปศุสัตว์ (พ.ศ.๒๕๑๑)
-
นายสัตวแพทย์ หน่วยพัฒนาการเคลื่อนที่ จังหวัดสุราษฏร์ธานี
(พ.ศ.๒๕๑๒-๒๕๑๓)
-
หัวหน้าสถานีตรวจและรักษาโรคสัตว์พิษณุโลก (พ.ศ.๒๕๑๔-๒๕๒๔)
-
ปศุสัตว์จังหวัดตาก (พ.ศ.๒๕๒๕)
-
ปศุสัตว์จังหวัดพิษณุโลก (พ.ศ.๒๕๒๖-๒๕๓๙)
-
ปศุสัตว์จังหวัดสุโขทัย (พ.ศ.๒๕๔๐)
-
ปศุสัตว์จังหวัดพิษณุโลก (พ.ศ.๒๕๔๑-๒๕๔๖)
-
รักษาราชการแทนผู้อำนวยการสำนักสุขศาสตร์สัตว์และสุขอนามัยที่ ๖
(พ.ศ.๒๕๔๖)
๗.
ประสบการณ์ด้านการเมือง (ทั้งอดีตและปัจจุบัน)
-
๘.
การศึกษา ดูงาน การอบรมทั้งในและต่างประเทศ
พ.ศ.
๒๕๑๙ ศึกษาด้านปาโทโลยี ณ ประเทศสวีเดน
พ.ศ.๒๕๒๓ ไปบรรยายด้านปาโทโลยี ณ ประเทศสวีเดน
พ.ศ.๒๕๒๙ บรรยายและสัมมนาด้านปาโทโลยี ณ
ประเทศเวียดนาม
๙.
ที่อยู่ปัจจุบัน
บ้านเลขที่
๓๘๘ ถนนสีหราชเดโชชัย ตำบลในเมือง อำเภอเมือง
จังหวัดพิษณุโลก ๖๕๐๐๐
โทรศัพท์
(บ้าน) ๐-๕๕๓๒-๐๖๗๐ (มือถือ)
๐๘-๙๗๐๘-๙๙๔๔
๑๐.
สถานภาพครอบครัว
ภรรยาคือ รศ.วราวรรณ ตั้งตระการพงษ์ ข้าราชการบำนาญ
บุตร
คือ ๑. ดร.ดลเดช ตั้งตระการพงษ์ อาจารย์มหาวิทยานเรศวร
๒. นายสัตวแพทย์รองเดช ตั้งตระการพงษ์ อาจารย์มหาวิทยาลัยนเรศวร
๑๑.
ปรัชญาในการดำรงชีวิต
ดำรงชีวิตเรียบง่าย ไม่กระทำสิ่งอื่นใดให้ผู้อื่นเดือดร้อน
และช่วยเหลือสังคมในสิ่ง
ที่ตนเองถนัด
๑๒.
แนวคิดในการพัฒนามหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม
ต้องการให้มหาวิทยาลัย
เป็นมหาวิทยาลัยที่ตอบสนองอาชีพของชุมชน
ภาคเหนือตอนล่าง และในอนาคตต้องพัฒนาการสอนวิชาชีพเพื่อรองรับสี่แยกอินโดจีน
0 ความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น